วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

รับติดตั้งโซลาร์เซลล์หนองแขม 0637014301


รับติดตั้งโซลาร์เซลล์หนองแขม โซล่าร์รูฟท็อป โซล่าร์ฟาร์ม

ช่างหนองแขม รับออกแบบ ติดตั้ง ระบบ on grid solar system โซล่าเซลล์บนหลังคาบ้าน ขายไฟฟ้าคืนได้ ประหยัดค่าไฟ ราคาถูก

ติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ พระนครสำหรับปั๊มน้ำประปาหมู่บ้าน ปั๊มน้ำเพื่อการเกษตร ฟาร์ม โรงเรือน สนามกอร์ฟ








รับติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์หรือแผงโซล่าเซลล์ในพื้นที่หนองแขม

ประวัติศาสตร

เขตพระนคร เดิมมีฐานะเป็น อำเภอชนะสงคราม ขึ้นกับกรมนครบาล มีที่ว่าการอำเภอตั้งอยู่ที่ถนนจักรพงษ์ ติดกับวัดชนะสงครามด้านเหนือ



ในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2458 ได้มีประกาศยกเลิกอำเภอชั้นในแต่เดิมและตั้งอำเภอชั้นในขึ้นใหม่ 25 อำเภอ ได้แก่ อำเภอพระราชวัง อำเภอชนะสงคราม อำเภอสำราญราษฎร์ อำเภอพาหุรัด อำเภอจักรวรรดิ อำเภอสัมพันธวงศ์ อำเภอสามแยก อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย อำเภอสามยอด อำเภอนางเลิ้ง อำเภอบางขุนพรหม อำเภอสามเสน อำเภอดุสิต อำเภอพญาไท อำเภอประแจจีน อำเภอประทุมวัน อำเภอบางรัก อำเภอสาธร อำเภอบ้านทะวาย อำเภอบางพลัด อำเภออมรินทร์ อำเภอหงสาราม อำเภอราชคฤห์ อำเภอบุปผาราม และอำเภอบุคคโล

ต่อมาในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2471 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการรวมพื้นที่อำเภอพาหุรัด อำเภอสำราญราษฎร์ อำเภอพระราชวัง และอำเภอชนะสงครามเป็นอำเภอเดียวกัน เรียกว่า อำเภอพระนคร ตามประกาศยุบรวมอำเภอและกิ่งอำเภอในจังหวัดพระนครและธนบุรี (ภายหลังได้ยุบอำเภอสามยอดและอำเภอบางขุนพรหมเข้ามารวมด้วย) และในปี พ.ศ. 2515 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติจัดระเบียบการปกครองในเขตนครหลวงใหม่ อำเภอพระนครจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

มึคำถามที่ถามกันบ่อยที่สุดว่า

ถ้าจะติดแผงโซล่าร์เซลล์ จะลดค่าไฟได้เท่าไร และทงทุนเท่าไรคิดแบบสรุป

เคลียร์ให้หายสงสัย แบบสั้นๆ ง่ายๆนะครับ สำหรับคนที่สนใจจะติดตั้งโซลาร์เซลล์ แต่ยังไม่เคลียร์ว่าจะคุ้มหรือไม่

ก่อนที่จะพูด เราควรปูพื้นฐานก่อนครับ ว่า การติดตั้งโซลาร์เซลล์มีกี่แบบ?

การติดตั้งโซลาร์เซลล์ ถ้าแบ่งแบบประเภทใหญ่ มีแค่ 2 ประเภทเท่านั้นคือ

1.แบบออฟกริด  Off Grid  แปลง่ายๆคือ แบบใช้แบตเตอรี่ทำงานจ่ายไฟจากแผงโซลาร์

2.แบบออนกริด แปลง่ายๆคือ ใช้ไฟของการไฟฟ้าทำงานร่วมกับแผงโซลาร์

ยกตัวอย่างเลยดีกว่า

ที่บ้านผม ติดแผงโซลาร์เซลล์ แบบที่2 คือ แบบ ออนกริด  คือติดแผงโซล่าร์เซลล์ขนาด  250 วัตต์  ขนาดของแผงSolar กว้างยาวประมาณ ตู้เย็น 7 คิว โดยติด ทั้งหมด 40 แผง  ใช้เนื้อที่ประมาณ 80 ตารางเมตร  กำลังผลิตไฟก็คือ 10,000 วัตต์  มาจาก  40x250 วัตต์นั่นเอง

คำถามคือ

1.ลงทุนเท่าไร  ตอบ  ประมาณ 600,000 บาทครับ

2.ประหยัดไฟตอนกลางวัน ได้เดือนละเท่าไร  ตอบ กำลังการผลิตขนาดนี้ จะได้ไฟวันละ 40 หน่วย  เดือนละ 1,200 หน่วย  เมื่อค่าไฟหน่วยละประมาณ 4 ฿ ก็จะประหยัดได้ประมาณ  4,800฿

ถ้าเป็นขายไฟ ก็จะได้เดือนละประมาณ 8,000฿ เพราะ  ราคารับซื้อคือ 6.85฿

ถามว่า กี่ปีคืนทุน  ถ้าขายไฟก็ 7 ปี แต่ถ้าทำใช้เอง ประมาณ 10 ปีครึ่ง ครับ

ส่วนการติดแบบ Off Grid จะมีค่าแบตเพิ่มขึ้นมาอีกประมาณ  20-40% ของต้นทุนเดิมครับ www.dadjar.solar

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------





รูปแบบการใช้งาน

120W ใช้ได้กับหลอดไฟฟ้า วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องเล่น CD-DVD ,Notebook computer

240W หลอดไฟฟ้า ,วิทยุเทป ,โทรทัศน์ ,CD-DVD player , PC computer ,notebook computer

480W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม , เครื่องซักผ้า

720W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,เตารีดไฟฟ้า , พัดลม , เครื่องซักผ้า , หม้อหุงข้าวไฟฟ้า

800W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม , เครื่องซักผ้า , หม้อหุงข้าวไฟฟ้า , เตารีดไฟฟ้า

960W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ , เครื่องซักผ้า , หม้อหุงข้าวไฟฟ้า , เตารีดไฟฟ้า

1080W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า

1500W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า

2000W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า

3000W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า





การออกแบบและคำนวณ ระบบพลังงานไฟฟ้าจากโซล่าร์เซลล์ เซลแสงอาทิตย์

ขั้นตอนที่ 1   เลือกอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเป็นต้องใช้จริงๆ โดยพิจารณาจากกำลังไฟฟ้า จากฉลากที่แปะอยู่ด้านหลังของของอุปกรณ์นั้นๆ เช่น พัดลม มีกำลังไฟฟ้า ประมาณ40-50 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , ตู้เย็น 6 คิว กำลังไฟฟ้าประมาณ 700 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , เครื่องซักผ้า กำลังไฟฟ้าประมาณ ....วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , ทีวี 21 นิ้ว กำลังไฟฟ้าประมาณ 150 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , หลอดไฟ ฟลูออเรสเซนต์ ยาว กำลังไฟฟ้าประมาณ 38 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , หลอดไฟฟลูออเรสเซ็นต์สั้น กำลังไฟฟ้าประมาณ 18 วัตต์ จำเป็นต้องใช้

คำนวนว่า อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เราใช้นั้น แต่ละชิ้น เราจะใช้วันละกี่ชั่วโมง

เอา จำนวนวัตต์ รวมทั้งหมด มาคูณกับจำนวนรวมของชั่วโมงทั้งหมด ใน 1 วัน



ขั้นตอนที่ 2 ตระหนักว่าทุกวัตต์มีค่า เราต้องทำการเปลี่ยนแปลง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่กินกำลังไฟมากๆ เช่น

- ตู้เย็น ควรใช้ตู้ที่รุ่นเล็กที่สุดเท่าที่เราคิดว่าเหมาะสมและควรมีตู้เดียว

- เครื่องซักผ้า ควรเลือกถังใหญ่ที่สุด และ นานๆค่อยซักสักครั้ง เพื่อการใช้ไฟที่ใช้เวลาน้อยสุด

- ทีวี ควรเปลี่ยจากจอแก้ว เป็นจอ Led เพราะ จอแก้ว กินวัตต์มากเหลือเกิน และ ปัจจุบัน จอ Led ราคาถูกมากๆ

- หลอดไฟ ควรเปลี่ยนเป็นหลอด Led เพราะกินวัตต์น้อยมากๆ และควรติดตั้งสวิทซ์แสง เพื่อปิดไฟในตอนเช้ามืด และ เปิดไฟในตอนหัวค่ำ

- ปั๊มน้ำควรเปลี่ยนเป็น ปั๊มน้ำไฟdc เพราะกินวัตต์น้อยมาก

- เครื่องทำน้ำอุ่น ไม่ควรใช้

- เตาไมโครเวฟ ไม่ควรใช้ หรือถ้าจำเป็นให้เลือกวัตต์น้อยสุด หรือควรใช้เตาไฟฟ้า หรือเตาแก๊ส



เมื่อวางแผนเปลี่ยนแล้ว มาคำนวณ ปริมาณการใช้ไฟรวมในแต่ละวัน หรือสัปดาห์ เพื่อการเตรียมติดตั้ง แผงโซล่าร์เซลล์

ขั้นตอนที่ 3  พิจารณาสภาพบ้านของท่านว่าเหมาะสมที่จะติดตั้งโซล่าร์เซลไหม

มีขั้นตอนย่อยๆ ดังนี้โดยผมจะโหวตให้กับสถานที่ที่ติดตั้งแล้วได้กำลังวัตต์มากที่สุดนะครับ

Top 1 บ้านของท่านเป็นบ้านเดี่ยว 2 ชั้นและ หลังคาข้างบ้านของท่านด้านที่เป็นหลังคา หันไปทางทิศใต้ และบ้านของท่านมีต้นไม้เตี้ยกว่าหลังคาท่านจะได้แดดเยอะสุด

Top 2 บ้านของท่านเป็นโรงงานด้วย ท่านจะมีที่ติดแผงโซล่าร์เซลล์มากมาย

Top 3 บ้านของท่านเป็นบ้านชั้นเดียว แต่มีต้นไม้น้อย

Top 4 บ้านของท่านเป็นตึกที่มีดาดฟ้า

Top 5 บ้านของท่าน มีที่ดินเหลือเฟือ

Top 6 บ้านของท่านเป็นทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น

Top 7 บ้านของท่านเป็นทาวน์เฮาส์ 1 ชั้น

Top 8 บ้านของท่านเป็นคอนโดมีเนียม

ขั้นตอนที่ 4 คำนวณ

Ex ยกตัวอย่างการคำนวนค่าใช้จ่าย และ การเลือกอุปกรณ์

สมมติ บ้านท่านปรับปรุงไฟบางส่วนแล้ว

1.ทีวี led 40 นิ้ว 3 เครื่อง ละ 40 วัตต์ = 120 วัตต์

2.หลอดไฟ led 12 วัตต์3 หลอด = 36 วัตต์

รวม ไฟบ้านท่าน 156 วัตต์





อุปกรณ์ที่ในการติดตั้งโซล่าร์เซลล์

1.โซล่าร์เซลล์ หรือ เซลล์แสงอาทิตย์

2.เครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟ้า Solar Charge Controller

3.แบตเตอรี่ Battery Deep Cycle

4.เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Inverter



การคำนวณหาขนาดไฟ

เครื่องแปลงไฟฟ้า Inverterจะแปลงไฟฟ้า จากBattery 12 โวลท์ ให้เป็น 220 โวลท์ ควรเลือกขนาดกำลังให้เพียงพอที่จะจ่ายไฟฟ้าให้แก่เครื่องใช้ไฟฟ้า

ขนาดของเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า = (Led 12W X 3 ดวง) + (TvLed 40 W X 3 เครื่อง)

= 156 W

ขนาดของเครื่องแปลงกระไฟฟ้าเราอาจนึกว่าควรมีขนาด 156 W แต่จริงๆแล้วเผื่อขนาดให้สูงกว่า เพราะฉะนั้นขนาดที่เหมาะสมควรใช้ขนาด 200 W โดยใช้กับแบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์

แบตเตอรี่ Battery

จะสำรองไฟฟ้าในช่วงเวลาที่แผงโซลาร์ไม่สามารถรับแสงได้เช่นเวลากลางคืน แบตเตอรี่ที่เหมาะสมกับการใช้งานในระบบโซล่าร์เซลล์ควรใช้แบตเตอรี่ชนิด Deep Cycle คือแบตเตอรี่ที่จะชาร์จเมื่อไฟหมดแล้วเท่านั้ร แต่ของดีก็จะต้องมีราคาสูง แต่เราก็อาจจะเลือกใช้กับแบตเตอรี่ชนิดได้ เช่นแบตเตอรี่รถยนต์ , แบตเตอรี่แห้ง Sealed Lead Acid Battery ก็ได้เพราะราคาถูกกว่ามาก

ขนาดกระแส/ชั่วโมง ของแบตเตอรี่นั้นเราสามารถคำนวณได้จากสูตร

Ah = ค่าพลังงานรวม / [โวลต์ของแบตเตอรี่ X 0.6 (เปอร์เซ็นต์% การใช้งานกระแสไฟฟ้าที่อยู่ในแบตเตอรี่) X 0.85 (ประสิทธิภาพของ Inverter)]

= [(12W X 3 ดวง) X 6 ชั่วโมง] + [(40W x 3 เครื่อง) X 3 ชั่วโมง] / {12 โวลต์ X 0.6 X 0.85}

ผลลัพธ์คือ 94.117 Ah

เพราะฉะนั้นขนาดของแบตเตอรี่ที่ใช้จะควรใช้ขนาดรุ่น 12โวลต์ 105 Ah หรือ 12 โวลต์ 125 Ah เผื่อไว้ก็ได้

เครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟ้า Solar Charge Controller

จะทำหน้าที่ควบคุมการประจุกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ ซึ่งช่วยยืดอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ได้ เราจำเป็นต้องมีขนาดให้เท่ากับหรือมากกว่ากระแสไฟฟ้า Amp ที่ไหลผ่านจากแผงโซล่าร์เซลล์ไปสู่แบตเตอรี่ เพราะฉะนั้นขนาดของเครื่องควบคุมการประจุ กระแสไฟฟ้าต้องให้มีขนาดเกินกว่ากระแสไฟฟ้าที่มาจากแผงโซล่าร์เซลล์

เซลล์แสงอาทิตย์ หรือ โซล่าร์เซล Solar cell

สูตร

ขนาดของแผง = ค่าการใช้พลังงานรวม / 5 ชั่วโมง ก็มาจากปริมาณแสงอาทิตย์ที่น่าจะได้ใน 1 วัน

= [(12W X 3 ดวง) X 6 ชั่วโมง] + [(120 W) X 3 ชั่วโมง] / 5 ชั่วโมง

= 115.2 Ah

เพราะฉะนั้นขนาดของเซลล์แสงอาทิตย์ที่ต้องใช้ คือ ขนาด 12 โวลต์ 115.2 วัตต์หรือควรจะมากกว่านั้น





ข้อสำคัญท่านควรมีพลังงานสำรองในกรณีที่เซลล์แสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ เช่น ช่วงเวลาที่ไม่มีแสงอาทิตย์ หรือในช่วงที่ฝนกำลังตก ท่านควรจะเพิ่มขนาดของแผงโซล่าร์เซลล์ และขนาดของแบตเตอรี่ด้วย เพื่อการสำรองพลังงาน

แต่อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่สำคัญที่สุด คือ ท่านต้องหาวิธีลดกำลังวัตต์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าของท่าน ซึ่งจะแปรผันโดยตรงกับ ค่าใช้จ่ายของอุปกรณ์โซล่าร์เซลล์โดยเห็นได้ชัด

สถานที่ราชการ

สำนักงานเขตหนองแขม

โดยปี พ.ศ. 2521 เขตหนองแขมได้ย้ายที่ทำการเดิมจากปากคลองมหาศรไปอยู่บริเวณริมถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู ซึ่งได้รับการบริจาคที่ดินจำนวน 20 ไร่จากนายล้อม ฟักอุดม เพื่อใช้เป็นสถานที่ก่อสร้างที่ทำการสำนักงานเขตหนองแขมมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน



สถานีตำรวจนครบาลหนองแขม

สถานีตำรวจนครบาลหนองแขมเดิมตั้งอยู่ริมคลองภาษีเจริญฝั่งใต้ เป็นอาคารชั้นเดียว จะสร้างเมื่อใดนั้นไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน เพียงแต่ทราบว่ามีหัวหน้าสถานีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2448 การคมนาคมสมัยก่อนจะใช้คลองเป็นหลัก ต่อมาเมื่อมีการก่อสร้างถนนมากขึ้น ประชาชนก็เปลี่ยนไปอยู่ตามหมู่บ้านจัดสรรและตามริมถนนต่าง ๆ สถานีตำรวจซึ่งตั้งอยู่ริมน้ำเริ่มให้บริการประชาชนไม่สะดวก สถานที่ราชการก็คับแคบ ต้องต่อเติมอาคารด้านข้างสถานีเก่าเป็นห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม และทางด้านหลังสถานี สร้างเป็นห้องแถวสำหรับเป็นที่พักอาศัยของข้าราชการตำรวจ ต่อมา ปี พ.ศ. 2520 กรมตำรวจได้จัดซื้อที่ดินริมถนนหนองแขม-บางบอน จำนวน 3 ไร่ จากนายชววุฒิสุข เจ้าของที่ดิน และในเวลาเดียวกัน เจ้าของที่ดินรายนี้ได้บริจาคเพิ่มเติมให้อีก 1 ไร่ โดยไม่คิดมูลค่า รวมที่ดิน 4 ไร่ เพื่อสร้างอาคารที่ทำการหลังใหม่



พ.ศ. 2523 กรมตำรวจได้จัดสรรงบประมาณสร้างอาคารที่พักอาศัย 5 ชั้น จำนวน 40 หลัง สำหรับเป็นที่พักของข้าราชการตำรวจ



ปี พ.ศ. 2529 ได้จัดสร้างสถานีตำรวจนครบาลหนองแขมหลังใหม่ (อาคารปัจจุบัน) 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ได้ย้ายที่ทำการจากอาคารหลังเก่า มาดำเนินการในอาคารหลังใหม่จนกระทั่งปัจจุบัน



สถานีตำรวจนครบาลหนองค้างพลู



สถานีตำรวจนครบาลหนองค้างพลู ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดหน่วยงาน เขตอำนาจการรับผิดชอบ และเขตพื้นที่ปกครองของหน่วยงานราชการในกรมตำรวจ (ฉบับที่ 20) พ.ศ. 2539 ณ วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2539 โดยให้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 60 วัน นับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบิกษา จึงนับได้ว่าสถานีตำรวจนครบาลหนองค้างพลูเริ่มเปิดบริการประชาชนตั้งแต่วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา โดยแยกพื้นที่บางส่วนของสถานีตำรวจนครบาลหนองแขมออกมา เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการติดต่อราชการ อีกทั้งการแบ่งพื้นที่ดังกล่าวให้เกิดประสิทธิภาพ ในการดูแล ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนให้ได้ทั่วถึง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น