วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
ช่างโซล่าเซลล์สงขลา 0637014301
ช่างโซล่าเซลล์สงขลา
ช่างโซล่าเซลล์สงขลา
รับติดตั้งแผงโซล่าเซลล์สงขลา โทร/Line : 0637014301 ติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์ บนหลังคาบ้าน ประหยัดค่าไฟ
ติดตั้งโซลาร์เซลล์สงขลา , โซล่าเซลล์บนหลังคาบ้านสงขลา, ไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์สงขลา
ช่างสงขลารับติดตั้งโซล่าเซลล์ ราคาถูก จำหน่าย ขายแผงโซล่าเซลล์ โซล่าเซลล์บนหลังคาบ้าน ขายไฟฟ้าคืนได้ ประหยัดค่าไฟ ราคาถูก
รับติดตั้งโซลาร์เซลล์ สงขลา โซล่าร์รูฟท็อป โซล่าร์ฟาร์ม
ช่างสงขลารับออกแบบ ติดตั้ง ระบบ on grid solar system โซล่าเซลล์บนหลังคาบ้าน ขายไฟฟ้าคืนได้ ประหยัดค่าไฟ ราคาถูก
ติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ พระนครสำหรับปั๊มน้ำประปาหมู่บ้าน ปั๊มน้ำเพื่อการเกษตร ฟาร์ม โรงเรือน สนามกอร์ฟ
โซล่าเซลล์และอุปกรณ์พลังงานทดแทนครบวงจร
รับติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์หรือแผงโซล่าเซลล์ในพื้นที่สงขลา
ที่มาของชื่อ "สงขลา"
มีตำนานและเรื่องเล่าหลายเรื่องทั้งที่เป็นบันทึกและจากคำบอกเล่าถึงชื่อของเมืองสงขลาหลายประการด้วยกัน ซึ่งพอจะแจกแจงตามเอกสารที่มาได้ดังนี้
ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893 ว่าเป็นเมืองประเทศราชในจำนวน 16 หัวเมือง และในเอกสารที่บันทึกโดยคนไทยอีกหลายฉบับที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเมืองสงขลาได้บันทึกประวัติของชื่อเมืองสงขลาว่า มาจากบันทึกของพ่อค้า และนักเดินเรือชาวอาหรับเปอร์เซีย ระหว่างปี พ.ศ. 1993-2093 ในนามของเมือง "ซิงกูร์" หรือ "ซิงกอรา" แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์เและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามของนายนิโกลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลาว่า "เมืองสิงขร" [4] โดยได้สันนิษฐานว่าคำว่าสงขลาในปัจจุบันน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า "สิงหลา" หรือ "สิงขร" แปลว่าเมืองสิงห์ เนื่องมาจากการที่พ่อค้าชาวเปอร์เซียอินเดีย ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้แล่นเรือผ่านมาค้าขายและแลเห็นเกาะหนู-เกาะแมว ซึ่งเมื่อมองจากทะเลเข้าหาฝั่งในระยะไกล ๆ จะเห็นปรากฏเป็นภาพคล้ายสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา ชาวอินเดียจึงเรียกเมืองสงขลาในสมัยนั้นว่า "เมืองสิงหลา" ส่วนคนไทยเรียกว่า "เมืองสทิง" เมื่อแขกมลายูเข้ามาค้าขายกับเมืองสิงหลา ก็จะออกเสียงเพี้ยนเป็น "เซ็งคอรา" เมื่อฝรั่งเข้ามาค้าขายก็เรียกตามมลายูแต่เสียงเพี้ยนเป็นสำเนียงฝรั่งคือ "ซิงกอรา" (Singora) จากนั้นคนไทยพื้นถิ่นเองก็ได้เรียกตามเสียงมลายูและฝรั่งเพี้ยนเป็นคำว่า "สงขลา" ดังปัจจุบัน
นอกเหนือจากนี้ เอกสารชิ้นนี้ยังอธิบายต่อถึงความเป็นไปได้อีกสาเหตุหนึ่งว่า คำว่าสงขลาน่าจะเป็นการเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "สิงขร" ที่แปลว่าภูเขา เนื่องจากเมืองสงขลาในยุคดั้งเดิมตั้งอยู่เชิงเขา และต่อมาเจ้าเมืองคนแรกยังได้รับพระราชทานนามว่า "วิเชียรคีรี" ซึ่งสอดคล้องกับเมืองที่อยู่แถบภูเขา สอดคล้องกับสุภาวดี เชื้อพราหมณ์ ที่ได้บันทึกว่าสงขลาเพี้ยนมาจากภาษาสันสกฤตหรือภาษาบาลี เนื่องจากชาวอินเดียล่องเรืออ้อมแหลมมลายูมาสู่ฝั่งตะวันออก เมื่อมองจากทะเลเข้าสู่ฝั่งสงขลาแลเห็นภูเขาเป็นปราการธรรมชาติ จึงเรียกว่า สิงขระ หรือ สิงขร ซึ่งคำไทยสิงขร หมายถึง ภูเขา ต่อมาชาวตะวันตกจึงเรียกตาม และเพี้ยนเป็นคำว่า ซิงโกรา หรือ ซิงกอรา เช่นเดียวกันกับที่กล่าวมาข้างต้น
เหตุผลสุดท้ายที่เอกสารในเอกสารการศึกษาความเป็นไปได้ก็คือ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชวินิจฉัยไว้ว่า "สงขลา" เดิมชื่อสิงหนคร (สิง-หะ-นะ-คอน) แต่แขกชาวมลายูพูดเร็วและออกเสียงเพี้ยนกลายเป็น สิง-คะ-รา แต่ออกเสียงเป็น ซิงคะรา หรือ สิงโครา จนมีการเรียกเป็น ซิงกอรา[5] [6]
ในส่วนเอกสารของชาวตะวันตกที่กล่าวถึงสงขลาในช่วงเวลาต้น ๆ ซึ่งสามารถค้นย้อนหลังไปได้ถึงสามร้อยปีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโดยปรากฏชื่อเมืองสงขลาในแผนที่ของประเทศสยามที่ทำโดยนายเชอวาลีเย เดอ โชมอง ราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่เข้ามาเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. 2228 [7]
นับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 5-6 การปรากฏตัวของเมืองท่า และแหล่งโบราณคดีที่แสดงว่า มีผู้คนจากต่างแดนเข้ามาปะทะสัมพันธ์ น่าจะมีเหตุผลจาก การแสวงหาโชคลาภและโภคทรัพย์ของผู้คนทางตะวันตกดั่งเช่น กรีซ และ โรมัน จึงทำให้ช่วงเวลาดังกล่าว เป็นช่วงเวลาของการค้นพบเส้นทางการค้าทางทะเลที่เกิดขึ้นใหม่ คู่ขนานและเชื่อมโครงข่ายกับเส้นทางการค้าทางบก
ต่อมาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 8 ได้เกิดอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และความปลอดภัย ในการใช้เส้นทางบกระหว่างดินแดนทางตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะพวกโรมันและรัฐในกลุ่มเอเชียกลาง จึงหันมาใช้เส้นทางทะเลแทน เพื่อใช้ค้าขายติดต่อกับอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และจีน โดยการเดินทางเชื่อมระหว่างสองทวีปในระยะแรก ๆ นี้ ไม่ใช่เป็นการเดินทางแบบรวดเดียวถึงกันตลอด แต่ต้องมีจุดหยุดพักเป็นระยะ ๆ โดยอาศัยเมืองท่า และสถานีพักสินค้า เพื่อถ่ายสินค้า เพิ่มเติมน้ำจืดและอาหาร รวมไปถึงการซ่อมแซมเรือจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง [8]
ทั้งนี้หากย้อนกลับมาพิจารณาจากทำเลที่ตั้งของภาคใต้ของประเทศไทย ที่เป็นคาบสมุทรตั้งอยู่ระหว่างประเทศที่เป็นอู่อารยะธรรม คือ ประเทศจีน ประเทศอินเดีย ประเทศแถบอาหรับเปอร์เซีย และประเทศแถบชวา-มลายู จะพบว่า ดินแดนทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นดินแดนที่อยู่ในตำแหน่งเส้นทางการค้าขายทางทะเล รวมถึงเป็นดินแดนที่พ่อค้าชาวแขกมัวร์ ใช้เส้นทางนี้เดินทางค้าขายทางเรือ โดยอาศัยลมสินค้าในสมัยโบราณที่จำกัดโดยสภาพภูมิศาสตร์ และเทคโนโลยีการต่อเรือ รวมถึงการเดินเรือซึ่งในสมัยนั้น ต้องอาศัยทิศทางและกำลังลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อเดินทางจากอินเดียไปยังจีน และอาศัยลมมรสุมจากตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อเดินทางจากจีนไปยังอินเดีย และบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรไปถึงเส้นห้าองศาเหนือ เป็นพื้นที่อันตรายเพราะเป็นเขตจุดเริ่มต้นของลมสินค้า ลมจะสงบนิ่ง (ไร้กระแสลม เรียกว่าโดลดรัม Doldrums) เมื่อลมเบาบางจนทำให้เรือสินค้าเคลื่อนที่ไม่ได้ ที่เรียกว่า "ตกโลก"[9] ก็เป็นการบังคับให้พ่อค้าต้องแวะตามเมืองท่าชายฝั่งภาคใต้ของไทย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรเพื่อจอดซ่อมแซมเรือ เติมน้ำจืดและอาหาร รวมถึงขนถ่ายสินค้าข้ามคาบสมุทรกลางทางในรอบปี โดยการขนถ่าย แลกเปลี่ยนสินค้านี่เอง ทำให้เมืองท่าต่าง ๆ ในคาบสมุทรทางภาคใต้ของไทยในสมัยที่มีการเดินเรือทะเล มีความเจริญรุดหน้า จากการค้าขายเป็นอันมาก นอกจากนั้น สินค้าที่สำคัญที่ผลักดันให้ชาวตะวันตกต้องแสวงหาและเดินทางมายังเมืองท่าในคาบสมุทรมลายูคือ เครื่องเทศ เช่น ว่าน กระวาน ขิง ข่า ขมิ้น กระชาย พริกไทย กานพลู อบเชย ดีปลี จันทน์เทศ ทำให้เส้นทางการเดินเรือดังกล่าว ได้ชื่อว่าเป็นเส้นทางเครื่องเทศ
มึคำถามที่ถามกันบ่อยที่สุดว่า
ถ้าจะติดแผงโซล่าร์เซลล์ จะลดค่าไฟได้เท่าไร และทงทุนเท่าไรคิดแบบสรุป
เคลียร์ให้หายสงสัย แบบสั้นๆ ง่ายๆนะครับ สำหรับคนที่สนใจจะติดตั้งโซลาร์เซลล์ แต่ยังไม่เคลียร์ว่าจะคุ้มหรือไม่
ก่อนที่จะพูด เราควรปูพื้นฐานก่อนครับ ว่า การติดตั้งโซลาร์เซลล์มีกี่แบบ?
การติดตั้งโซลาร์เซลล์ ถ้าแบ่งแบบประเภทใหญ่ มีแค่ 2 ประเภทเท่านั้นคือ
1.แบบออฟกริด Off Grid แปลง่ายๆคือ แบบใช้แบตเตอรี่ทำงานจ่ายไฟจากแผงโซลาร์
2.แบบออนกริด แปลง่ายๆคือ ใช้ไฟของการไฟฟ้าทำงานร่วมกับแผงโซลาร์
ยกตัวอย่างเลยดีกว่า
ที่บ้านผม ติดแผงโซลาร์เซลล์ แบบที่2 คือ แบบ ออนกริด คือติดแผงโซล่าร์เซลล์ขนาด 250 วัตต์ ขนาดของแผงSolar กว้างยาวประมาณ ตู้เย็น 7 คิว โดยติด ทั้งหมด 40 แผง ใช้เนื้อที่ประมาณ 80 ตารางเมตร กำลังผลิตไฟก็คือ 10,000 วัตต์ มาจาก 40x250 วัตต์นั่นเอง
คำถามคือ
1.ลงทุนเท่าไร ตอบ ประมาณ 600,000 บาทครับ
2.ประหยัดไฟตอนกลางวัน ได้เดือนละเท่าไร ตอบ กำลังการผลิตขนาดนี้ จะได้ไฟวันละ 40 หน่วย เดือนละ 1,200 หน่วย เมื่อค่าไฟหน่วยละประมาณ 4 ฿ ก็จะประหยัดได้ประมาณ 4,800฿
ถ้าเป็นขายไฟ ก็จะได้เดือนละประมาณ 8,000฿ เพราะ ราคารับซื้อคือ 6.85฿
ถามว่า กี่ปีคืนทุน ถ้าขายไฟก็ 7 ปี แต่ถ้าทำใช้เอง ประมาณ 10 ปีครึ่ง ครับ
ส่วนการติดแบบ Off Grid จะมีค่าแบตเพิ่มขึ้นมาอีกประมาณ 20-40% ของต้นทุนเดิมครับ www.dadjar.solar
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รูปแบบการใช้งาน
120W ใช้ได้กับหลอดไฟฟ้า วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องเล่น CD-DVD ,Notebook computer
240W หลอดไฟฟ้า ,วิทยุเทป ,โทรทัศน์ ,CD-DVD player , PC computer ,notebook computer
480W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม , เครื่องซักผ้า
720W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,เตารีดไฟฟ้า , พัดลม , เครื่องซักผ้า , หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
800W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม , เครื่องซักผ้า , หม้อหุงข้าวไฟฟ้า , เตารีดไฟฟ้า
960W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ , เครื่องซักผ้า , หม้อหุงข้าวไฟฟ้า , เตารีดไฟฟ้า
1080W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า
1500W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า
2000W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า
3000W หลอดไฟฟ้า,วิทยุเทป,โทรทัศน์ ,CD-DVD player,PC computer ,notebook computer ,ตู้เย็น ,พัดลม ,ปั๊มสูบน้ำ ,หม้อหุงข้าว , เครื่องซักผ้า , เครื่องทำน้ำอุ่น , เตารีดไฟฟ้า
การออกแบบและคำนวณ ระบบพลังงานไฟฟ้าจากโซล่าร์เซลล์ เซลแสงอาทิตย์
ขั้นตอนที่ 1 เลือกอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเป็นต้องใช้จริงๆ โดยพิจารณาจากกำลังไฟฟ้า จากฉลากที่แปะอยู่ด้านหลังของของอุปกรณ์นั้นๆ เช่น พัดลม มีกำลังไฟฟ้า ประมาณ40-50 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , ตู้เย็น 6 คิว กำลังไฟฟ้าประมาณ 700 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , เครื่องซักผ้า กำลังไฟฟ้าประมาณ ....วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , ทีวี 21 นิ้ว กำลังไฟฟ้าประมาณ 150 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , หลอดไฟ ฟลูออเรสเซนต์ ยาว กำลังไฟฟ้าประมาณ 38 วัตต์ จำเป็นต้องใช้ , หลอดไฟฟลูออเรสเซ็นต์สั้น กำลังไฟฟ้าประมาณ 18 วัตต์ จำเป็นต้องใช้
คำนวนว่า อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เราใช้นั้น แต่ละชิ้น เราจะใช้วันละกี่ชั่วโมง
เอา จำนวนวัตต์ รวมทั้งหมด มาคูณกับจำนวนรวมของชั่วโมงทั้งหมด ใน 1 วัน
ขั้นตอนที่ 2 ตระหนักว่าทุกวัตต์มีค่า เราต้องทำการเปลี่ยนแปลง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่กินกำลังไฟมากๆ เช่น
- ตู้เย็น ควรใช้ตู้ที่รุ่นเล็กที่สุดเท่าที่เราคิดว่าเหมาะสมและควรมีตู้เดียว
- เครื่องซักผ้า ควรเลือกถังใหญ่ที่สุด และ นานๆค่อยซักสักครั้ง เพื่อการใช้ไฟที่ใช้เวลาน้อยสุด
- ทีวี ควรเปลี่ยจากจอแก้ว เป็นจอ Led เพราะ จอแก้ว กินวัตต์มากเหลือเกิน และ ปัจจุบัน จอ Led ราคาถูกมากๆ
- หลอดไฟ ควรเปลี่ยนเป็นหลอด Led เพราะกินวัตต์น้อยมากๆ และควรติดตั้งสวิทซ์แสง เพื่อปิดไฟในตอนเช้ามืด และ เปิดไฟในตอนหัวค่ำ
- ปั๊มน้ำควรเปลี่ยนเป็น ปั๊มน้ำไฟdc เพราะกินวัตต์น้อยมาก
- เครื่องทำน้ำอุ่น ไม่ควรใช้
- เตาไมโครเวฟ ไม่ควรใช้ หรือถ้าจำเป็นให้เลือกวัตต์น้อยสุด หรือควรใช้เตาไฟฟ้า หรือเตาแก๊ส
เมื่อวางแผนเปลี่ยนแล้ว มาคำนวณ ปริมาณการใช้ไฟรวมในแต่ละวัน หรือสัปดาห์ เพื่อการเตรียมติดตั้ง แผงโซล่าร์เซลล์
ขั้นตอนที่ 3 พิจารณาสภาพบ้านของท่านว่าเหมาะสมที่จะติดตั้งโซล่าร์เซลไหม
มีขั้นตอนย่อยๆ ดังนี้โดยผมจะโหวตให้กับสถานที่ที่ติดตั้งแล้วได้กำลังวัตต์มากที่สุดนะครับ
Top 1 บ้านของท่านเป็นบ้านเดี่ยว 2 ชั้นและ หลังคาข้างบ้านของท่านด้านที่เป็นหลังคา หันไปทางทิศใต้ และบ้านของท่านมีต้นไม้เตี้ยกว่าหลังคาท่านจะได้แดดเยอะสุด
Top 2 บ้านของท่านเป็นโรงงานด้วย ท่านจะมีที่ติดแผงโซล่าร์เซลล์มากมาย
Top 3 บ้านของท่านเป็นบ้านชั้นเดียว แต่มีต้นไม้น้อย
Top 4 บ้านของท่านเป็นตึกที่มีดาดฟ้า
Top 5 บ้านของท่าน มีที่ดินเหลือเฟือ
Top 6 บ้านของท่านเป็นทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น
Top 7 บ้านของท่านเป็นทาวน์เฮาส์ 1 ชั้น
Top 8 บ้านของท่านเป็นคอนโดมีเนียม
ขั้นตอนที่ 4 คำนวณ
Ex ยกตัวอย่างการคำนวนค่าใช้จ่าย และ การเลือกอุปกรณ์
สมมติ บ้านท่านปรับปรุงไฟบางส่วนแล้ว
1.ทีวี led 40 นิ้ว 3 เครื่อง ละ 40 วัตต์ = 120 วัตต์
2.หลอดไฟ led 12 วัตต์3 หลอด = 36 วัตต์
รวม ไฟบ้านท่าน 156 วัตต์
อุปกรณ์ที่ในการติดตั้งโซล่าร์เซลล์
1.โซล่าร์เซลล์ หรือ เซลล์แสงอาทิตย์
2.เครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟ้า Solar Charge Controller
3.แบตเตอรี่ Battery Deep Cycle
4.เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Inverter
การคำนวณหาขนาดไฟ
เครื่องแปลงไฟฟ้า Inverterจะแปลงไฟฟ้า จากBattery 12 โวลท์ ให้เป็น 220 โวลท์ ควรเลือกขนาดกำลังให้เพียงพอที่จะจ่ายไฟฟ้าให้แก่เครื่องใช้ไฟฟ้า
ขนาดของเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า = (Led 12W X 3 ดวง) + (TvLed 40 W X 3 เครื่อง)
= 156 W
ขนาดของเครื่องแปลงกระไฟฟ้าเราอาจนึกว่าควรมีขนาด 156 W แต่จริงๆแล้วเผื่อขนาดให้สูงกว่า เพราะฉะนั้นขนาดที่เหมาะสมควรใช้ขนาด 200 W โดยใช้กับแบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์
แบตเตอรี่ Battery
จะสำรองไฟฟ้าในช่วงเวลาที่แผงโซลาร์ไม่สามารถรับแสงได้เช่นเวลากลางคืน แบตเตอรี่ที่เหมาะสมกับการใช้งานในระบบโซล่าร์เซลล์ควรใช้แบตเตอรี่ชนิด Deep Cycle คือแบตเตอรี่ที่จะชาร์จเมื่อไฟหมดแล้วเท่านั้ร แต่ของดีก็จะต้องมีราคาสูง แต่เราก็อาจจะเลือกใช้กับแบตเตอรี่ชนิดได้ เช่นแบตเตอรี่รถยนต์ , แบตเตอรี่แห้ง Sealed Lead Acid Battery ก็ได้เพราะราคาถูกกว่ามาก
ขนาดกระแส/ชั่วโมง ของแบตเตอรี่นั้นเราสามารถคำนวณได้จากสูตร
Ah = ค่าพลังงานรวม / [โวลต์ของแบตเตอรี่ X 0.6 (เปอร์เซ็นต์% การใช้งานกระแสไฟฟ้าที่อยู่ในแบตเตอรี่) X 0.85 (ประสิทธิภาพของ Inverter)]
= [(12W X 3 ดวง) X 6 ชั่วโมง] + [(40W x 3 เครื่อง) X 3 ชั่วโมง] / {12 โวลต์ X 0.6 X 0.85}
ผลลัพธ์คือ 94.117 Ah
เพราะฉะนั้นขนาดของแบตเตอรี่ที่ใช้จะควรใช้ขนาดรุ่น 12โวลต์ 105 Ah หรือ 12 โวลต์ 125 Ah เผื่อไว้ก็ได้
เครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟ้า Solar Charge Controller
จะทำหน้าที่ควบคุมการประจุกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ ซึ่งช่วยยืดอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ได้ เราจำเป็นต้องมีขนาดให้เท่ากับหรือมากกว่ากระแสไฟฟ้า Amp ที่ไหลผ่านจากแผงโซล่าร์เซลล์ไปสู่แบตเตอรี่ เพราะฉะนั้นขนาดของเครื่องควบคุมการประจุ กระแสไฟฟ้าต้องให้มีขนาดเกินกว่ากระแสไฟฟ้าที่มาจากแผงโซล่าร์เซลล์
เซลล์แสงอาทิตย์ หรือ โซล่าร์เซล Solar cell
สูตร
ขนาดของแผง = ค่าการใช้พลังงานรวม / 5 ชั่วโมง ก็มาจากปริมาณแสงอาทิตย์ที่น่าจะได้ใน 1 วัน
= [(12W X 3 ดวง) X 6 ชั่วโมง] + [(120 W) X 3 ชั่วโมง] / 5 ชั่วโมง
= 115.2 Ah
เพราะฉะนั้นขนาดของเซลล์แสงอาทิตย์ที่ต้องใช้ คือ ขนาด 12 โวลต์ 115.2 วัตต์หรือควรจะมากกว่านั้น
ข้อสำคัญท่านควรมีพลังงานสำรองในกรณีที่เซลล์แสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ เช่น ช่วงเวลาที่ไม่มีแสงอาทิตย์ หรือในช่วงที่ฝนกำลังตก ท่านควรจะเพิ่มขนาดของแผงโซล่าร์เซลล์ และขนาดของแบตเตอรี่ด้วย เพื่อการสำรองพลังงาน
แต่อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่สำคัญที่สุด คือ ท่านต้องหาวิธีลดกำลังวัตต์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าของท่าน ซึ่งจะแปรผันโดยตรงกับ ค่าใช้จ่ายของอุปกรณ์โซล่าร์เซลล์โดยเห็นได้ชัด
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น